Skip Ribbon Commands
Skip to main content

ศูนย์วิจัยทางการผดุงครรภ์

:

result

ศูนย์วิจัยทางการผดุงครรภ์(Midwifery research center)
​​​


สรุปผลการดำเนินงานในไตรมาส 1 ปีพ.ศ. 2559 (มกราคม - มีนาคม)​

1.png

2.png
4.png
5.png

3.png

File Download


สรุปผลการดำเนินงานในไตรมาส 2 ปีพ.ศ. 2558 (เมษายน-มิถุนายน)​


111.png
112.png

113.png



File Download


**************************************************************************************************************
                                                       
                                                                            ​สรุปผลการดำเนินงานในไตรมาส 1 ปีพ.ศ. 2558 (มกราคม-มีนาคม)​
สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์วิจัยทางการผดุงครรภ์ความเป็นเลิศทางการพยาบาลไตรมาสที่ 1-2558
หัวเรื่อง/ลำดับที่                                                                                              งานวิจัย                                                                                                           
                                     โครงร่างการวิจัย                                 วิจัย                                        การตัพิมพ์/นำเสนอ   นวัตกรรม                  บริการวิชาการ/การจัดการความรู้
       1                       การส่งเสริมพัฒนาการของทารก                                                                                                                        โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ
                              ในครรภ์จากประสบการณ์ของ                                                                                                                                สำหรับพยาบาลวิชาชีพ
                              บิดามารดา ครอบครัว เยาวชน                                                                                                                        ในการส่งเสริมสนับสนุนและคุ้ม
                              และบุคลากรทางการพยาบาล                                                                                                                                ครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
      เขตภาคเหนือ (รุ่นที่ 2)
      2                              การรณรงค์การบริโภค
                              ไอโอดีนในสตรีตั้งครรภ์
      3                          การรณรงค์การบริโภค
                             ไอโอดีนในมารดาหลังคลอด
                              การพัฒนาการให้บริการ
      4                               วิชาการเรื่องการเตรียมสตรี
                             ตั้งครรภ์เพื่อการคลอด
  
      5                            การพัฒนา Homepage
                            เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร
                             ด้านการผดุงครรภ์และศูนย์วิจัยฯ
รวม 5                                                                                                                                                                                               1


สรุปรายงานความก้าวหน้าประจำไตรมาสที่ 1/2558

ยุทธศาสตร์:ศูนย์วิจัยทางการผดุงครรภ์

ยุทธศาสตร์ที่ 1      พัฒนากลุ่มวิจัยที่เข้มแข็งและมีการทำงานเป็นทีม เชื่อมโยงตั้งแต่ระดับนักศึกษาถึงระดับนักวิจัยอาวุโส

เป้าประสงค์:เป้าประสงค์      1. มีกลุ่มวิจัยด้านอื่นตามแผนที่วิจัยเพิ่มขึ้น โดยประกอบด้วยนักวิจัยรุ่นใหม่ กลาง และอาวุโส

                                                2. นักศึกษาได้เข้าร่วมวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ในกลุ่มวิจัยของอาจารย์

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

โครงการ/กิจกรรม

ผู้รับผิดชอบ

ผู้ร่วมกิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินการ

งบประมาณ

1. ส่งเสริมให้มีการบูรณาการการวิจัย บริการวิชาการ และการเรียนการสอน

1. มีโครงการที่บูรณาการระหว่างการวิจัย การให้บริการวิชาการแก่ชุมชน และการเรียนการสอนอย่างน้อย 2 โครงการ

1. การรณรงค์การบริโภคไอโอดีนในสตรีตั้งครรภ์

2. การรณรงค์การบริโภคไอโอดีนในมารดาหลังคลอด

-เตรียมกลุ่มวิจัยและจัดทำโครงร่างวิจัย 

-ให้ความรู้แก่พยาบาล นศ.

-ให้ความรู้แก่สตรีตั้งครรภ์และสตรีหลังคลอด โดยมี นศ. เข้าร่วมทำกิจกรรม

-วางแผนและประเมินผลโดยใช้กระบวนการวิจัย

1. ผศ. อภิรัช

2. รศ. ดร. เกสรา

โครงการที่ 1

1) สตรีตั้งครรภ์ 50 คน

2) พยาบาลหน่วยฝากครรภ์ 10 คน

3) นศ. 15 คน

โครงการที่ 2

1) มารดาหลังคลอด 50 คน

2. บุคลากรทางการพยาบาลหอผู้ป่วยหลังคลอด 20 คน

3. นักศึกษาที่หน่วยหลังคลอด 18 คน

จัดทำโครงร่างวิจัย แล้วเสร็จภายใน เมย. 58

จัดกิจกรรมในช่วง สค. 58

ประเมินผลแล้วเสร็จภายใน กย. 58

งบประมาณวิจัยคณะ โครงการละ 40,000.00

รวมเป็น 80,000.00

 

 

 

2. การพัฒนาการให้บริการวิชาการเรื่องการเตรียมสตรีตั้งครรภ์เพื่อการคลอด โดยใช้กระบวนการวิจัย

รศ. อำไพ

สตรีตั้งครรภ์ 30 ราย

มค. – กย. 58

งบประมาณวิจัย150,000.00

2. ส่งเสริมให้มีทีมวิจัยเพิ่มขึ้นและนักศึกษาได้เข้าร่วมวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ในกลุ่มวิจัยของอาจารย์

1. มีทีมวิจัยและโครงร่างวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่อง

2. มีแนวปฏิบัติของศูนย์ฯและหลักสูตรผดุงครรภ์และนำไปใช้จริงในปีการศึกษา 2559

โครงการสัมมนา up-date and trends in midwifery and developing networks

และการบูรณาการการวิจัยของคณาจารย์และบัณฑิตศึกษา

 

-คณะกรรมการศูนย์ฯ

-คณะกรรมการหลักสูตรผดุงครรภ์

-วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

(พญ. สุพิศ)

-คณาจารย์กลุ่มวิชาฯ

รวมทั้งสิ้น 15 คน

-นักศึกษาหลักสูตรผดุงครรภ์ 10 คน

เขียนโครงการสัมมนาแล้วเสร็จภายใน เมย. 58

จัดสัมมานาภายใน พค. 58

มีโครงร่างวิจัยภายใน มิย. 58 

งบประมาณคณะ ในการจัดสัมมนา 30,000.00 บาท

งบประมาณวิจัยที่จะขอ 50,000.00

(ผศ. ดร. จันทรรัตน์)

 

สรุปการดำเนินงาน อยู่ในระหว่างพัฒนาโครงร่างวิจัย

ยุทธศาสตร์ที่ 3      พัฒนาเครือข่ายนักวิจัยระดับชาติและนานาชาติ

เป้าประสงค์           เกิดเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างนักวิจัยของคณะกับนักวิจัย/นักวิชาการ

กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

โครงการ/กิจกรรม

ผู้รับผิดชอบ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ระยะเวลา

งบประมาณที่ขอ

หมายเหตุ

1. มีเครื่องมือในการสร้างเครือข่ายนักวิจัย และเผยแพร่ข้อมูลด้านผดุงครรภ์และศูนย์วิจัยฯ

 

1. มี Homepage

E-Newsletters  

2. เผยแพร่ E-Newsletters  

1 เล่ม

(ปีต่อไป ปีละ 2 เล่ม)

3. โครงร่างวิจัยการพัฒนาโฮมเพจ 1 เรื่อง

 1. การพัฒนา Homepage เพื่อเผยแพร่ข่าวสารด้านการผดุงครรภ์และศูนย์วิจัยฯ และมีเครือข่ายผดุงครรภ์ โดยใช้กระบวนการวิจัย

 

1. ประธานศูนย์ฯ

2. ผศ. จริยาพร  ผศ. จิราวรรณ

อ. พจนีย์

 

-คณะกรรมการศูนย์ฯ

-คณาจารย์กลุ่มวิชา

-นศ.

รวม 20 คน

 

1. โครงร่างวิจัยแล้วเสร็จภายใน มีค. 58

2. Homepage แล้วเสร็จภายใน มิย. 58

3.  เผยแพร่เล่มที่ 1 กย. 58

งบวิจัยจากคณะฯ 70,000.00

 

 

 

สรุปการดำเนินงาน อยู่ในระหว่างพัฒนาโครงร่าง​




แบบสำรวจงานวิจัยและบริการวิชาการ

ศูนย์ความเป็นเลิศทางการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

¨ ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาพยาบาลฯ         / ศูนย์วิจัยทางการผดุงครรภ์

¨ ศูนย์พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิฯ                 ¨ ศูนย์การดูแลสุขภาพและความปลอดภัยฯ

¨ ศูนย์การดูแลทางสุขภาพจิตและจิตเวช         ¨ ศูนย์นโยบายและผลลัพธ์ทางการพยาบาล

¨ ศูนย์พัฒนางานวิจัยด้านสุขภาพทางเพศฯ      ¨ ศูนย์วิจัยและนวัตกรรมด้านการดูแลผู้สูงอายุ 

 

1.     โครงการวิจัยที่กำลังดำเนินการในปัจจุบัน

ลำดับ

ชื่อโครงการวิจัย

ที่กำลังดำเนินการ

ระยะเวลาดำเนินงาน

แหล่งที่มาของงบประมาณ

หมายเหตุ

1

-

-

-

-

2

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

2.  โครงการวิจัยที่อยู่ระหว่างการพัฒนาโครงร่างเพื่อเสนอของบประมาณ

ลำดับ

ชื่อโครงการวิจัย/ชุดโครงการวิจัย

ที่กำลังพัฒนาโครงร่าง

แหล่งทุนที่คาดว่าจะเสนอของบประมาณ

หมายเหตุ

1

การส่งเสริมพัฒนาการของทารกในครรภ์จากประสบการณ์ของบิดามารดา ครอบครัว เยาวชน และบุคลากรทางการพยาบาล

มช. 500,000.00

 

2

การรณรงค์การบริโภคไอโอดีนในสตรีตั้งครรภ์

 

คณะ 40,000.00

 

3

การรณรงค์การบริโภคไอโอดีนในมารดาหลังคลอด

คณะ 40,000.00

 

4

การพัฒนาการให้บริการวิชาการเรื่องการเตรียมสตรีตั้งครรภ์เพื่อการคลอด

คณะ 150,000.00

 

5

การพัฒนา Homepage เพื่อเผยแพร่ข่าวสารด้านการผดุงครรภ์และศูนย์วิจัยฯ

คณะ 70,000.00

 

 

3.  งานบริการวิชาการและการจัดการความรู้

ลำดับ

ชื่อโครงการ/กิจกรรมบริการ

วิชาการและการจัดการความรู้

ลักษณะโครงการ

กลุ่ม

เป้าหมาย

วัน/เดือน/ปี

ที่จัดทำ

หมายเหตุ

1

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับพยาบาลวิชาชีพในการส่งเสริมสนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่: เขตภาคเหนือ (รุ่นที่2)

อบรมเชิงปฏิบัติการ

พยาบาลภาคเหนือ

130 คน

วันที่ 17 – 20 กุมภาพันธ์ 2558

 











************************************************************************************


​สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์วิจัยทางการผดุงครรภ์ไตรมาสที่1-2557
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับพยาบาลวิชาชีพในการส่งเสริมสนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่: เขตภาคเหนือ
วันที่ 11 –14 พฤศจิกายน2557และวันที่ 17 – 20 กุมภาพันธ์ 2558
ณ  โรงแรมดิเอมเพรสอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
****************************
 
1.       ชื่อโครงการ :
การอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับพยาบาลวิชาชีพในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เขตภาคเหนือ
 
2.       หน่วยงานที่รับผิดชอบ :
           คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
3.       โครงการดังกล่าวตอบสนองต่อวัตถุประสงค์กลยุทธ์
          ยุทธศาสตร์ที่ 3พัฒนาการบริการวิชาการและการให้บริการบนฐานความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น
    เป้าประสงค์สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายสถาบันการศึกษา องค์กร และหน่วยงานทั้งในและนอกท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อให้บริการวิชาการและถ่ายทอดความรู้ความรู้ด้านวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติ
    ตัวชี้วัดที่ 1ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก
 
4.       ประเภทโครงการ
              (  )  พัฒนาอาจารย์ / บุคลากร                      ()  พัฒนานักศึกษา      
              (  ) พัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน          (√) บริการวิชาการแก่ชุมชน
              (  )  ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม   
 
5.       หลักการและเหตุผล :
      การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมองค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) แนะนำให้มารดาทุกคนเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนหลังคลอด (exclusive breastfeeding)  หลังจากนั้นให้นมแม่ร่วมกับอาหารเสริมตามวัยจนถึงอายุ 2 ปีหรือนานกว่า ประเทศต่างๆทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยได้มีการรณรงค์ให้มีการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แต่ผลจากการสำรวจสถิติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในประเทศไทยทั้งในอดีตและปัจจุบันยังพบอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อยู่ในระดับต่ำ โดยผลการสำรวจอนามัยเจริญพันธ์ในปี พ.ศ. 2552 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวเป็นเวลา เดือน มีเพียงร้อยละ 15.1 ซึ่งอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่ต่ำ โดยมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องทั้งทางด้านมารดา ทารก สภาพแวดล้อม รวมทั้งบุคลากรสุขภาพผู้ให้การดูแลมารดาและทารก
พยาบาลเป็นบุคลากรสุขภาพที่มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อีกทั้งยังมีส่วนทำให้มารดาตัดสินใจเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เนื่องจากพยาบาลเป็นบุคคลที่ดูแลมารดาอย่างใกล้ชิดตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด รวมทั้งระยะกลับไปเลี้ยงดูทารกที่บ้านตลอดจนกลับไปทำงาน นอกจากนี้พยาบาลยังมีบทบาทในการดูแลสุขภาพทารกอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ระยะแรกเกิด ดังนั้นเพื่อให้การทำหน้าที่ตามบทบาทมีประสิทธิภาพ พยาบาลจึงต้องมีความรู้ ทัศนคติ และทักษะในการส่งเสริม สนับสนุน การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การที่พยาบาลจะทำหน้าที่ตามบทบาทอย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถให้ความรู้ และเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แก่มารดา รวมทั้งช่วยเหลือมารดาในการให้นมแม่อย่างถูกต้อง โดยให้นมแม่อย่างเดียวจนถึง เดือนและให้นมแม่ร่วมกับอาหารเสริมตามวัยจนถึง ปีหรือนานกว่านั้น ตามเป้าหมายของประเทศไทยและองค์การอนามัยโลก พยาบาลต้องมีความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างถูกต้อง มีทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และมีทักษะเพียงพอในการช่วยเหลือมารดาและทารกที่มีปัญหาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ประกอบกับปัจจุบันองค์ความรู้และเทคโนโลยีเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีพัฒนาการอย่างมาก รวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายหรือกลยุทธ์ในการดำเนินงานเพื่อส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มากขึ้น สภาการพยาบาล องค์การกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาพยาบาลวิชาชีพเพื่อให้มีความรู้ ทัศนคติ และทักษะในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้สอดคล้องกับองค์ความรู้และกลยุทธ์ที่เปลี่ยนแปลงไป จึงได้วางแผนจัดอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลของรัฐในเขตภาคเหนือ โดยมุ่งหวังให้พยาบาลวิชาชีพที่ได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้สามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปใช้ในการวิเคราะห์ประเมินปัญหา วางแผนให้ความช่วยเหลือมารดา และให้คำปรึกษาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ทั้งในภาวะปกติ และภาวะเจ็บป่วยของทั้งมารดาและทารก รวมทั้งสามารถถ่ายทอดความรู้และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้แก่มารดา และครอบครัว นักศึกษาพยาบาล และบุคลากรสุขภาพอื่นๆที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานได้ เพื่อเป็นการพิทักษ์สิทธิ์ของมารดาและทารกในการที่จะได้รับสิ่งที่ดีทีสุดสำหรับสุขภาพในระยะยาวต่อไป
 
 
6.       วัตถุประสงค์ :
เพื่อพัฒนาความรู้ ทัศนคติ และทักษะ ในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลของรัฐในเขตภาคเหนือ
 
7.      ตัวบ่งชี้ประเมินผลสำเร็จของโครงการ
7.1     จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
7.2    ความรู้ ทัศนคติ และทักษะในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของผู้เข้าร่วมโครงการ
7.3        ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
 
8.       เป้าหมายวัดความสำเร็จตามตัวบ่งชี้
8,1     จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80
8.2     ค่าคะแนนความรู้ในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของผู้เข้าร่วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80
8.3    ค่าคะแนนทัศนคติในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของผู้เข้าร่วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80
8.4    ค่าคะแนนทักษะในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของผู้เข้าร่วมโครงการมากกว่าร้อยละ 80
8.2     ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการมากกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5
 
9.       วัน เวลา และสถานที่:

      วันอังคารที่ 11-วันศุกร์ที่ 14พฤศจิกายน  2557  เวลา 08.00-16.00 น.

       และวันอังคารที่ 17-วันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558        เวลา 08.00-16.00 น.

      ณ โรงแรมดิเอมเพรสอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

 

10.  ผู้เข้าร่วมโครงการ:
พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานเกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในโรงพยาบาลของรัฐเขตภาคเหนือ  จำนวนรวม 260 คน โดยจัดรุ่นละ130 คน
 
11.  งบประมาณ :
11.1       รายรับ ได้รับการสนับสนุนจากองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF)
11.2       รายจ่าย (อยู่ในขั้นตอนของการพิจารณาจากสภาการพยาบาล)
 
12.  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ:
12.1       ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ทัศนคติ และทักษะในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่สอดคล้องกับองค์ความรู้ที่ทันสมัย และกลยุทธ์ของประเทศที่เปลี่ยนแปลง
12.2       ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปใช้ในการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ทั้งในโรงพยาบาลและชุมชน
12.3       อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มมากขึ้นในโรงพยาบาลที่พยาบาลได้เข้ารับการอบรม
 
13.  การประเมินผล:
13.1                 ประเมินจากความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมสัมมนา
13.2                 ประเมินจากการติดตามอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของโรงพยาบาลที่พยาบาล      เข้ารับการอบรมทั้งก่อนและหลังการเข้ารับการอบรม

 


 


 
สรุปผลการดำเนินงานในไตรมาส 3 ปีพ.ศ. 2557 (กรกฎาคม-กันยายน)​

1.       โครงการวิจัยที่กำลังดำเนินการในปัจจุบัน

ลำดับ

ชื่อโครงการวิจัยที่กำลังดำเนินการ

1

การอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับพยาบาลวิชาชีพในการส่งเสริม

สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่: เขตภาคเหนือ (หัวหน้าโครงการ รศ. ดร. กรรณิการ์ กันธะรักษา)

2. กิจกรรมของศูนย์ฯ

ลำดับ​​ ชื่อโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการและการจัดการความรู้ ลักษณะโครงการ

กลุ่ม

เป้าหมาย

วัน/เดือน/ปี

ที่จัดทำ
หมายเหตุ
1​ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับพยาบาลวิชาชีพในการส่งเสริมสนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่: เขตภาคเหนือ ประชุมวิชาการแก่ชุมชน พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานเกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในโรงพยาบาลของรัฐเขตภาคเหนือ  จำนวน 260 คน โดยจัดรุ่นละ130 คน วันที่ 11 –14 พฤศจิกายน2557 รุ่นต่อไป วันที่ 17 – 20 กุมภาพันธ์ 2558
2​ การสัมมนาการวิจัยด้านอนามัยแม่และเด็ก และการผดุงครรภ์เพื่อแก้ไขปัญหาระดับประเทศ การสัมมนาภายในคณะฯ คณาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาภายในคณะ ฯ 40 คน 3-4 กันยายน 2557​
 
                                       ​​​